Home ข้อคิดดีๆ 4 เรื่องแย่ๆ ที่พ่อแม่ได้สร้างให้ลูก โดยไม่รู้ตัว

4 เรื่องแย่ๆ ที่พ่อแม่ได้สร้างให้ลูก โดยไม่รู้ตัว

ก่อนเริ่มต้นสอนหรือปลูกฝังอะไรแก่เด็กนั้น พื้นฐานจำเป็นเปรียบเสมือนการเตรียมดินที่ดีเพื่อให้ต้นไม้ได้งอกงามคือการให้ความรัก ความอบอุ่นอย่างสม่ำเสมอ

จนสามารถสร้างสัมพันธภาพที่แนบแน่นระหว่างพ่อแม่และเด็กได้สิ่งนี้สำคัญมากสำหรับเด็ก โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย่ า ง ยิ่ ง วั ย  0-3 ปี หากกระบวนการนี้เป็นไปด้วยดี เด็กจะมีการพัฒนาของ

เซลล์สมองและเส้นใยประสาทอย่างเหมาะสม ส่งผลให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีรอบด้านทั้งร่างกายและจิตใจ การสร้างความผูกพันทางจิตใจที่แนบแน่นนี้ ควรเริ่มสร้างตั้งแต่ตั้งครรภ์

พ่อแม่ควรมีอารมณ์แจ่มใสเมื่อเด็กคลอดออกมาแล้วพ่อแม่ควรมีเวลาเลี้ยงลูกด้วยตัวเอง ด้ ว ย อ า ร ม ณ์ ที่ แ จ่ ม ใ ส ให้ความรักความเอาใจใส่กับลูกสม่ำเสมอ ตอบสนองความต้องการได้ทันทีจะทำให้สร้าง

สัมพันธภาพทางจิตใจที่แนบแน่นกับเด็กได้ดี เด็กที่มีความผูกพันทางจิตใจที่แนบแน่นกับพ่อแม่ จะรู้สึกว่าตัวเองเป็นที่รัก เห็นคุณค่าของตน ส า ม า ร ถ ส ร้ า ง ค ว า ม

สัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่นได้ และสามารถเรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้ดี ปัญหาที่พบบ่อยของเด็กในยุคปัจจุบัน

ที่ทำให้พ่อแม่หนักใจและมาปรึกษาหมอบ่อยๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรตระหนักและให้การดูแลปลูกฝังอย่างเหมาะสม มีดังนี้

1. การเลียนแบบพฤติ ก ร ร ม ก้าวร้าว

มักพบสาเหตุมาจากพ่อแม่และผู้ดูแล หากพ่อแม่มีอารมณ์เหวี่ยงง่าย ขี้ ห งุ ด ห งิ ด ใช้อารมณ์ดุว่าและทำโทษเด็กอย่างไม่เหมาะสม จะส่งผลให้เด็กเครียด เก็บกด และเลียนแบบพฤติ ก ร ร ม ก้าวร้าวได้ เช่น

หมอเคยพบเด็กบางคนที่ครูขอให้แม่พามาพบแพทย์ด้วย พ ฤ ติ ก ร ร ม ห ยิ ก ค รู และเพื่อนร่วมชั้นเวลาหงุดหงิด แม่ก็กลุ้มใจที่เด็กมีพฤติ ก ร ร ม ดังกล่าว แต่พอสอบถามในรายละเอียด

พบว่าแม่เองก็มักหงุดหงิดง่ายและลงโทษเด็กด้วยวิธีการหยิกเช่นกัน เ ด็ ก จึ ง เ ลี ย น แ บ บ พฤติ ก ร ร ม ก้าวร้าวจากการกระทำของแม่ไปใช้กับคนอื่น พ่อแม่ควรมีเวลาดูแลลูกและ

ไม่ควรใช้สื่อเป็นเครื่องมือเลี้ยงลูกแทนตนเอง โ ด ย เ ฉ พ า ะ เ ด็ ก วั ย 0-2 ปี พ่อแม่ควรดูแลด้วยการชวนคุย เล่นกระตุ้นพัฒนาการ ไม่ควรปล่อยให้เด็กเ ส พสื่อเพียงลำพัง

เพ ราะจะทำให้เด็กเลียนแบบพฤติ ก ร ร ม ก้าวร้าวจากสื่อที่มีเนื้อหาก้าวร้าวได้ น อ ก จ า ก นี้ เ ด็ ก จ ะ ข าดการกระตุ้นและมีพัฒนาการที่ล่าช้าได้ การเลี้ยงลูกด้วยตนเอง

โดยไม่ใช้อารมณ์ รู้จักกระตุ้นพัฒนาการ และป้องกัน อั น ต ร า ย จากสื่อ เปรียบได้กับการรดน้ำและใส่ปุ๋ยปลอดสาร พิ ษ ให้แก่ต้นไม้

2. พฤติ ก ร ร ม งอแง เอาแต่ใจมากเกินไป

เด็ก 0-3 ปี เป็นวัยที่มักงอแงเอาแต่ใจง่าย หากพ่อแม่เลี้ยงลูกแบบตามใจมากเกินไป เช่น ลูกร้องไห้อย ากได้ของเล่น หรือสิ่งต่างๆ พ่อแม่ก็จัดหาให้ตลอดโดยไม่มีกรอบกติกา

เด็กจะเรียนรู้ว่าการร้องงอแงทำให้พ่อแม่ใจอ่อนและตามใจ เ ด็ ก จ ะ ก ล า ย เ ป็ น ค น เ อ า แ ต่ ใ จ ดังนั้นการดูแลเด็กในวัยนี้ควรมีการวางกรอบกติกาที่เหมาะสม เช่น พ่อแม่ควรตกลงกับเด็กว่าใน 1 สัปดาห์

เด็กจะมีสิทธิ์ได้รับของเล่นหรือสิ่งต่างๆ ไ ด้ กี่ ชิ้ น และพย าย ามกำกับดูแลให้เด็กทำตามกติกาที่ตกลงกัน โดยไม่ใจอ่อนตามความงอแงของเด็ก เมื่อเด็กทำได้

ตามกติกา พ่อแม่ก็ให้แรงเสริมโดยแสดงความชื่นชม สิ่งนี้จะช่วยสอนให้เด็กรู้จักระงับความอย าก ค ว า ม ง อ แ ง ที่ เ กิ น พ อ ดี และทำให้เด็กเรียนรู้ที่จะทำตามกติกาได้ การเลี้ยงลูกอย่างมีกรอบกติกา

เปรียบได้กับการตกแต่งกิ่งต้นไม้ให้แลดูเป็นระเบียบเรียบร้อย ไม่ระเกะระกะ

3. เด็กไม่สามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นได้ตามวัย

มักพบบ่อยในครอบครัวที่พ่อแม่ปู่ย่าต า ย าย หรือพี่เลี้ยง คอยทำอะไรทุกอย่างให้ โดยไม่เปิดโอกาสให้เด็กได้ฝึกทักษะที่จำเป็นตามวัย เช่น เด็กวัย 2 ปี จะสามารถจับช้อนได้เอง

พ่อแม่อาจค่อยๆ สอนให้ลองตักข้าวกินเองบ้าง แม้เด็กจะทำได้ไม่เต็มที่ อ า จ ห ก เ ล อ ะ เ ท อ ะ หรือกินช้า ก็ควรสนับสนุนให้เด็กทำเอง นอกจากนี้เด็กวัยนี้ยังสามารถช่วยหยิบของที่ไม่เป็น อั น ต ร า ย ส่งให้พ่อแม่ได้

ซึ่งพ่อแม่ก็ควรฝึกหัดและชื่นชม เ มื่ อ เ ด็ ก ทำ ไ ด้ ก็ จ ะ ช่ ว ย ให้เด็กมีทักษะที่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ตามวัยและเป็นเด็กที่มีน้ำใจรู้จักช่วยเหลือพ่อแม่ การ

เลี้ยงลูกให้ช่วยเหลือตนเองได้ตามวัย เปรียบได้กับการสร้างรากแก้วของต้นไม้ให้แตกแขนงยืนหยัดได้ดี

4. เด็กข าดจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์

เพ ราะถูกปิดโอกาสในการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เด็กวัยนี้จะเป็นวัยที่เริ่มแสดงความเป็นตัวของตัวเอง อย ากเล่นอย ากลองริเริ่มทำสิ่งใหม่ๆ ด้วยตนเอง ชอบซักถามในสิ่งที่เขาสงสัย

ซึ่งหากพ่อแม่เอาแต่ดุหรือห้ามปรามด้วยความกังวล เด็กจะกลัว แ ล ะ ไ ม่ ก ล้ า ริ เ ริ่ ม ทำ สิ่ ง ต่ า ง ๆ ในทางตรงข้าม หากพ่อแม่สนับสนุนให้เด็กได้ทำอะไรใหม่ๆ

ที่เขาอย ากทำ (ถ้าสิ่งนั้นเป็นประโยชน์และไม่มี อั น ต ร า ย ) ได้สำเร็จ รวมทั้งเปิดโอกาสให้เด็กได้ซักถามในสิ่งที่เขาสงสัยใคร่รู้ เด็กจะมีจินตนาการ มีความกล้าคิดกล้าทำ

กล้าเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ได้ดี การส่งเสริมให้ลูกกล้าคิดริเริ่มจะทำให้ลูกมีความสามารถรอบด้าน เ ป รี ย บ เ ส มื อ น การนำต้นไม้ออกจากถุงเพาะชำและปลูกลงดิน เพื่อให้แตกกิ่ง

ก้านสาขาได้มากมาย เพ ราะหากเราจำกัดพื้นที่ให้อยู่ในกระถางแคบๆ ต้นไม้ก็จะแตกกิ่งก้านได้น้อยและแคระแกร็นการปลูกต้นไม้ให้เติบโตงอกงามก็ต้องอาศัยเหตุปัจจัยที่ดีที่ผู้ปลูกใส่ลงไป

การเลี้ยงดูเด็กก็เช่นกันครับ ห ม อ คิ ด ว่ า ทุ ก ค น ค ง อ ย ากให้ลูกเติบโตโดยมีคุณลักษณะดีๆ ที่พ่อแม่อย ากให้เป็น เช่นเป็นเด็กที่มีอารมณ์แจ่มใส มีน้ำใจรู้จักเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ สามารถควบคุมอารมณ์

ไม่เอาแต่ใจ และทำตามกรอบกติกา ไ ด้ ร ว ม ทั้ ง ส า ม า ร ถ ช่วยเหลือตนเองได้ตามวัย มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งการเลี้ยงดูเด็กให้มีลักษณะดังกล่าวได้ก็ขึ้นอยู่กับวิธีการดูแล

และปลูกฝังที่คุณอบรมสั่งสอนให้เขา ดังนั้นเด็กจึงเปรียบเสมือนภาพสะท้อนของวิธีการดูแลและปลูกฝังจากพ่อแม่นอกจากการสร้างความผูกพันทางจิตใจที่แนบแน่นนี้ ควรเริ่มสร้างตั้งแต่ตั้งครรภ์

พ่อแม่ควรมีอารมณ์แจ่มใสแล้วยังมีตัวช่วยดีๆ เป็นชุดนิทานเสริมให้กับคุณลูกด้วยนะคะ เพื่อให้ลูกรู้จักควบคุมอารมณ์ตัวเองผ่านการอ่านและดูรูปภาพจากหนังสือนิทานได้อีกด้วยค่ะ

ขอบคุณ meokayna

Load More Related Articles
Load More By wera phosri
Load More In ข้อคิดดีๆ

Check Also

11 การเอาตัวรอดเป็น ไปทำงานที่ไหนก็ราบรื่น ไม่ลำบาก

1 เข้าเมืองตาหลิ่ว ต้องหลิ่วตาตาม คนที่ฉลาดมักจะมีความยืดหยุ่นและปรับตัวได้ดีในสถานการณ์ต่…